
กรณีศึกษา ตู้กดน้ำอัตโนมัติ Dydo
กลยุทธ์พลิก (ขวด) กลับด้าน
วันที่ขาย ( ฉลาก) หลังมากกว่าขาย (โลโก้ ) หน้า
กรณีศึกษา ตู้กดน้ำอัตโนมัติ Dydo
ตู้กดน้ำที่จำหน่ายเครื่องดื่มนานาชนิดในญี่ปุ่น
===============================
กลุ่มเป้าหมาย :
คนรักสุขภาพที่ต้องดูข้อมูลโภชนาการบนฉลากขวดด้านหลังก่อนตัดสินใจซื้อ
สิ่งที่ได้เรียนรู้ :
กลยุทธ์พลิก (ขวด) กลับด้าน
จึงสื่อให้เห็นว่า มีลูกค้ากลุ่มหนึ่งที่ไม่สนใจแบรนด์
ขอเพียงแค่บอกว่า “ดีและมีประโยชน์” อย่างไร
โดยจะสังเกตที่การนำเสนอแคลลอรีและโภชนาการของเครื่องดื่มไว้แทน
ไอเดียที่นำไปต่อยอดได้ :
การจัดแบ่งหมวดหมู่สินค้าตามคุณสมบัติ
และประโยชน์ของลูกค้า เช่น ตู้นำDydo
มีการแบ่งตู้กดตามคุณสมบัติ เช่น กาแฟปราศจากสารเติมแต่ง เครื่องดื่มช่วยการเผาผลาญเมตาบอลิซึม
เครื่องดื่มป้องกันฮีตสโตรกหรือโรคลมแดด
===============================
วันนี้ลูกค้าไม่ได้สนใจแค่ความสวยงามของแพ็คเกจจิงเพียงอย่างเดียว แต่อยากรู้ด้วยว่าสิ่งที่กำลังจะบริโภคนั้นมีประโยชน์อย่างไร
Source :
https://japantoday.com/…/new-vending-machine-displays…